Page 29 - anualreport-64
P. 29

29

                                                     แนวทางการด าเนินการ


                    5.ถอดรหัสการพัฒนา                   1) ประเมินผลความส าเร็จของโครงการและถอดบทเรียนการ

                    ชุมชนท้องถิ่นจัดการตนเอง     ขับเคลื่อนในแตํละต าบล/อ าเภอ/จังหวัด

                    ในการสร้างความมั่นคงทาง             2) ประกวดคลิปวิดีโอรณรงค์การน๎อมน าแนวพระราชด าริของ

                    อาหารอย่างยั่งยืน            สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ๎า.กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ

                                                 สยามบรมราชกุมารี สร๎างความมั่นคงทางอาหารสูํปฏิบัติการ 90  วัน
                                                 ปลูกผักสวน ครัวเพื่อสร๎างความมั่นคงทางอาหาร รอบ 2

                                                        - ประเภทพัฒนากร : คนละ 1 คลิป
                                                        - ประเภทผู๎น า/ผู๎สนใจทั่วไป : คนละ 1 คลิป
                                                        - ประเภทบุคลากร อปท. : อปท. ละ 1 คลิป
                                                        - ประเภทศาสนสถานและสถานศึกษา : สถานที่ละ ๑ คลิป
                                                        3).มอบรางวัลเชิดชูเกียรติจ านวน 6.ประเภท.ได๎แกํ

                                                 1) ผู๎วําราชการจังหวัด 2) องค์กรปกครองสํวน ท๎องถิ่นต๎นแบบ (Best
                                                 Practice) 3).หมูํบ๎านที่มีความมั่นคงทางอาหารที่เกิดความเปลี่ยนแปลง
                                                 4).ผู๎ชนะเลิศการประกวดคลิปวิดีโอฯ ประเภทตําง ๆ.5).บ๎านพัก

                                                 ข๎าราชการกรมการพัฒนาชุมชน 6) ผู๎น าทางศาสนา

                        ผลการด าเนินการ                 กรมการพัฒนาชุมชน ได๎จัดสรรเมล็ดพันธุ์ผัก จ านวน

                                                 100,000.ซอง สํงมอบให๎กลุํมเปูาหมาย 76.จังหวัดทั่วประเทศ

                                                 ประกอบด๎วย 1).หมูํบ๎านคชานุรักษ์ และพื้นที่ที่ได๎รับผลกระทบจาก
                                                 ช๎างปุาใน 5 จังหวัด ภาคตะวันออก 2) หมูํบ๎านเศรษฐกิจพอเพียงเดิม
                                                 และหมูํบ๎านทั่วไปทั่วประเทศ 3).หมูํบ๎านเศรษฐกิจพอเพียง
                                                 พ.ศ. 2564.(พื้นที่พัฒนาคุณภาพชีวิต โคก หนอง นา โมเดล 76

                                                 จังหวัด) โดยได๎สนับสนุนกิจกรรมการน๎อมน า แนวพระราชด าริฯ ปลูก
                                                 ผักสวนครัวเพื่อสร๎างความมั่นคงทางอาหาร ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก
                                                 สถานศึกษา ศาสนสถาน เป็นแหลํงเรียนรู๎ในการปลูกผักสวนครัว

                            ปัญหาอุปสรรค                1. เนื่องจากสถานการณ์แพรํระบาดของโรคติดเชื้อ
                                                 ไวรัสโคโรนา.2019.ในชํวงเดือนเมษายน.2564.มีความรุนแรง
                                                 ในหลายพื้นที่.ท าให๎หลายจังหวัดก าหนดมาตรการเชิงปูองกัน.ควบคุม
                                                 การแพรํระบาดของโรค.สํงผลให๎ไมํสามารถด าเนินกิจกรรมที่มี

                                                 การรวมกลุํมได๎
                                                        2..บางพื้นที่พบปัญหาเป็นพื้นที่เขตกึ่งเมืองกึ่งชนบทท าให๎มี


                                                 พื้นที่จ ากัดหรือไมํมีพื้นที่ในการเพาะปลูกพืชผักสวนครัว เมล็ดพันธุ์
                                                 บางชนิดที่ซื้อจากท๎องตลาดเป็นเมล็ดพันธุ์ที่มีการตัดตํอพันธุกรรม

                                                 สามารถเพาะปลูกได๎เพียงครั้งเดียว และเกิดภาวะภัยแล๎งท าให๎
                                                 ประชาชนต๎องกักเก็บน้ าไว๎ส าหรับการอุปโภค
                                                        3. การปลูกผักสวนครัวส าหรับการบริโภคและการท าถังขยะ
                                                 เปียกทุกครัวเรือน ต๎องเกิดจากจิตส านึกเห็นคุณคําและประโยชน์

                                                 ดังนั้น หากประเมินผลส าเร็จตามโครงการฯ ในระยะเวลา 90 วัน
                                                 อาจไมํประสบผลส าเร็จอยํางยั่งยืน
   24   25   26   27   28   29   30   31   32   33   34