Page 81 - anualreport-64
P. 81

81

                  รํวมกันของหนํวยงานตําง ๆ ที่เกี่ยวข๎อง ภายใต๎แนวพระนโยบายและการก ากับติดตามขององค์ประธาน

                  และคณะกรรมการขับเคลื่อนการด าเนินโครงการฯ
                         ปัจจุบันการด าเนินโครงการอยูํในระยะที่ 2 ซึ่งมีระยะเวลาการด าเนินงาน 5 ปี ตั้งแตํปีงบประมาณ
                  2564 ถึง 2568 มีเปูาหมายเพื่อปฏิบัติงานอยํางตํอเนื่องในการขจัดโรคพิษสุนัขบ๎าให๎หมดไปจากประเทศ
                  ไทยอยํางยั่งยืน

                         ผลการตรวจราชการ

                         กระทรวงมหาดไทยได้ด าเนินการโครงการสัตว์ปลอดโรค คนปลอดภัย จากโรคพิษสุนัขบ้า ตามพระปณิธาน
                  ศาสตราจารย์ ดร. สมเด็จเจ้าฟ้าฯ กรมพระศรีสวางควัฒน วรขัตติยราชนารี.ประจ าปีงบประมาณ
                  พ.ศ. 2564 ซึ่งผู๎ตรวจราชการกระทรวงมหาดไทยรํวมกับผู๎ตรวจราชการส านักนายกรัฐมนตรี ผู๎ตรวจราชการ
                  กระทรวง/กรม และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ได้ประชุมตรวจติดตามผ่านระบบการประชุมออนไลน์

                  อันเนื่องมาจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัส 2019.(โควิด.-.19).และผู้ตรวจราชการ
                  กระทรวงมหาดไทยได้ตรวจติดตามผ่านระบบการตรวจราชการทางอิเล็กทรอนิกส์ (E-Inspection) ร่วมกับ
                  การลงพื้นที่ตามความเหมาะสมตามสถานการณ์ในแต่ละท้องที่ และดุลยพินิจของผู้ตรวจราชการ

                  กระทรวงมหาดไทย โดยภารกิจในความรับผิดชอบของกระทรวงมหาดไทย ได้แก่ การจัดระบบสถานสงเคราะห์สัตว์
                  ซึ่งจากการตรวจติดตามโครงการดังกล่าวในภาพรวมของผู๎ตรวจราชการกระทรวงมหาดไทย สรุปผลการติดตามได๎ ดังนี้

                           1.1 การเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมโรคพิษสุนัขบ้าคนและสัตว์
                               จังหวัดได๎มีนโยบายในการเฝูาระวังปูองกัน และควบคุมโรคพิษสุนัขบ๎า โดยได๎มีการแตํงตั้ง
                  คณะกรรมการโรคติดตํอจังหวัด มีการประชุมคณะกรรมการโรคติดตํอจังหวัด เพื่อรายงานสถานการณ์โรคและ

                  การติดตามการด าเนินงานฯ ปัญหาและอุปสรรคตําง ๆ ตลอดจนบูรณาการการด าเนินงานในจังหวัด
                  ผํานคณะกรรมการโรคติดตํอจังหวัด พร๎อมทั้งมีการจัดท าโครงการปูองกันควบคุมโรคติดตํอจากสัตว์สูํคน
                  เพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู๎ งานควบคุมโรคพิษสุนัขบ๎า เครือขํายระดับอ าเภอ และพัฒนาระบบการปูองกันโรค และ
                  สร๎างภาคีเครือขํายการบูรณาการรํวมกัน

                           1.2 การส ารวจข้อมูลจ านวนสัตว์และขึ้นทะเบียนสัตว์ในระบบฐานข้อมูลโรคพิษสุนัขบ้าหนึ่งเดียว

                  (Rabies  One  Data) และการฉีดวัคซีนป้องกันโรคพิษสุนัขบ้าขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ประจ าปี
                  งบประมาณ พ.ศ. 2564
                               กรมสํงเสริมการปกครองท๎องถิ่นได๎จัดสรรงบประมาณรายจํายประจ าปีงบประมาณ
                  พ.ศ. 2564 งบเงินอุดหนุนทั่วไป เพื่อขับเคลื่อนโครงการสัตว์ปลอดโรค คนปลอดภัย จากโรคพิษสุนัขบ๎า

                  ตามพระปณิธานศาสตราจารย์ ดร. สมเด็จเจ๎าฟูาฯ กรมพระศรีสวางควัฒน วรขัตติยราชนารี ซึ่งเป็นคําส ารวจ
                  ข๎อมูลจ านวนสัตว์และขึ้นทะเบียนสัตว์ ตัวละ 3 บาท และคําวัคซีนตัวละ 30 บาท เป็นเงินรวมทั้งสิ้น
                  1,643.64 ล๎านบาท สุนัขและแมวที่ได๎รับการฉีดวัคซีน จ านวน 9,572,059 ตัว

                               การด าเนินการส ารวจและขึ้นทะเบียนประชากรสุนัขและแมว.จังหวัดได๎มีการแจ๎งให๎องค์กร
                  ปกครองสํวนท๎องถิ่นบันทึกข๎อมูลจ านวนสุนัขและแมวในระบบบันทึกข๎อมูล.Rabies.One.Data.ซึ่งปรับปรุง
                  ระบบใหมํโดยมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ เริ่มใช๎งานได๎เต็มที่ในเดือนเมษายน ๒๕๖๔ โดยศูนย์บัญชาการ
                  เพื่อการเฝูาระวังโรคพิษสุนัขบ๎าได๎สํงรายชื่อและรหัส (Username.&.password).ให๎แกํองค์กรปกครอง
                  สํวนท๎องถิ่นทุกแหํงทราบโดยตรง

                               ขั้นตอนก่อนด าเนินการจัดซื้อวัคซีน จังหวัดได้เน้นย้ าให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นด าเนินการ
                  จัดซื้อจัดจ้างให้ถูกต้องตามระเบียบแบบแผนของทางราชการและค าแนะน าของกรมปศุสัตว์ ซึ่งองค์กรปกครอง
                  ส่วนท้องถิ่นในหลายพื้นที่ได้จัดให้มีการประชุม/ท างานร่วมกับปศุสัตว์จังหวัด ส าหรับการด าเนินการส ารวจและ

                  การฉีดวัคซีนเป็นไปด้วยความลําช๎าเนื่องจากสถานการณ์การแพรํระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019
                  (โควิด – 19) กํอให๎เกิดข๎อจ ากัดในการด าเนินการในพื้นที่ ท าให้เกิดความล่าช้าในการด าเนินการ อย่างไรก็ตาม
   76   77   78   79   80   81   82   83   84   85   86