Page 86 - anualreport-64
P. 86

86

                           1.8 การประชาสัมพันธ์สร้างความรู้ความเข้าใจ และส่งเสริมการมีส่วนร่วมให้กับประชาชนใน

                  พื้นที่เกี่ยวกับโรคพิษสุนัขบ้าที่ถูกต้อง โดยจังหวัด อ าเภอ และองค์กรปกครองสํวนท๎องถิ่นได๎ประชาสัมพันธ์
                  และรณรงค์ พร๎อมทั้งจัดอบรมให๎ความรู๎ความเข๎าใจในการเฝูาระวังโรคพิษสุนัขบ๎า ท าให๎ประชาชนมีความรู๎
                  ความเข๎าใจ และความตระหนักในการปูองกันและแก๎ไขปัญหาเรื่องโรคพิษสุนัขบ๎ามากขึ้น
                      2. ปัญหาอุปสรรค

                           2.1 ระดับพื้นที่
                               2.1.1.ด๎วยเกิดสถานการณ์การแพรํระบาดของเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (โควิด - 19) ท าให๎
                  การด าเนินการในพื้นที่เป็นไปอยํางจ ากัด บางครั้งจึงเกิดความล่าช้าในการด าเนินงาน การส ารวจประชากรสัตว์

                  ในพื้นที่ การฉีดวัคซีนป้องกันโรคพิษสุนัขบ้า ซึ่งต้องมีเจ้าของสัตว์เลี้ยงหรือผู้ช่วยจับสัตว์ในระหว่างการฉีดวัคซีน
                  ท าให้มีการสัมผัสใกล้ชิดกัน รวมถึงการขับเคลื่อนการสร้างพื้นที่ปลอดโรคพิษสุนัขบ๎า
                               2.1.2.ฐานข๎อมูลขององค์กรปกครองสํวนท๎องถิ่นบางแหํงขาดความตํอเนื่องและความมีเสถียรภาพ
                  ในการบันทึกข๎อมูลในระบบ Rabies One.Data.เนื่องจากมีการปรับเปลี่ยนบุคลากรผู๎รับผิดชอบบํอยครั้ง
                               2.1.3.ปัญหาความนําเชื่อถือของข๎อมูลที่องค์กรปกครองสํวนท๎องถิ่นจัดเก็บ ซึ่งเป็นเกณฑ์

                  การประเมินด๎านหนึ่ง ได๎แกํ การจัดเก็บข๎อมูลจ านวนสุนัข/แมว มีเจ๎าของและท าทะเบียนควบคุมให๎ครบถ๎วน
                  ถูกต๎อง ซึ่งปรากฏวําข๎อมูลสุนัขและแมวจรจัดแตํละแหลํงในพื้นที่ การฉีดวัคซีนทั้งสุนัข/แมวมีเจ๎าของและจรจัด ฯลฯ
                  ยังขาดการรับรองความถูกต๎องจากชุมชน/เจ๎าหน๎าที่ผู๎ด าเนินการหรือรับผิดชอบ โดยที่ท๎องถิ่นจังหวัด/อ าเภอ

                  ปศุสัตว์จังหวัด/อ าเภอ ไมํสามารถยืนยันรับรองความถูกต๎องข๎อมูลของท๎องถิ่นได๎ จึงอาจเป็นข๎อมูลที่อาจ
                  ไมํสอดคล๎องกับความเป็นจริง
                               2.1.4.องค์กรปกครองสํวนท๎องถิ่นโดยเฉพาะองค์การบริหารสํวนต าบลมีข๎อจ ากัดด๎านบุคลากร
                  ที่มีความรู๎ ประสบการณ์ และความช านาญด๎านโรคพิษสุนัขบ๎า ทั้งการจัดหาวัคซีน/จัดเก็บวัคซีน การฉีดวัคซีน

                  การท าหมันสัตว์ ฯลฯ และมีข๎อจ ากัดด๎านงบประมาณ อาทิ การจัดตั้งสถานสงเคราะห์สัตว์จรจัด การออกหนํวย
                  ผําตัดท าหมันสัตว์จรจัด การบริหารจัดการสุนัข/แมวจรจัด ฯลฯ
                               2.1.5.ในบางพื้นที่เจ๎าของสุนัขและแมวสํวนใหญํยังเลี้ยงแบบปลํอยอิสระท าให๎ไมํสามารถ
                  ฉีดวัคซีนได๎อยํางครบถ๎วน จ านวนของสุนัขและแมวเพิ่มมากขึ้นในทุกพื้นที่ ท าให๎การท าหมันตอบสนองไมํทัน

                  ตํอจ านวนที่เพิ่มขึ้นอยํางรวดเร็ว
                               2.1.6.การบังคับใช๎ข๎อบัญญัติ/เทศบัญญัติการควบคุมการเลี้ยงและปลํอยสัตว์ขององค์กร
                  ปกครองสํวนท๎องถิ่นในบางพื้นที่ยังไมํเข๎มงวดเพียงพอ
                               2.1.7.การบังคับใช๎ข๎อบัญญัติ/เทศบัญญัติวําด๎วยการควบคุมการเลี้ยงและปลํอยสัตว์ในพื้นที่

                  ภายหลังการประกาศบังคับใช๎ประชาชนคํอนข๎างจะไมํพึงพอใจ เพราะสํงผลกระทบตํอการเลี้ยงสัตว์ที่อยูํในความดูแล
                               2.1.8.การผลักดันให๎องค์กรปกครองสํวนท๎องถิ่นด าเนินการตามนโยบาย 1 องค์กรปกครอง
                  สํวนท๎องถิ่น 1 ศูนย์พักพิง พบปัญหา ดังนี้

                                    ๑) การด าเนินการหาพื้นที่ในการกํอสร๎างสถานสงเคราะห์สัตว์เป็นไปได๎ยาก เนื่องจาก
                  ไมํผํานประชาคมหมูํบ๎านเพราะประชาชนหรือชุมชนที่อยูํใกล๎เคียงไมํยินยอมให๎ด าเนินการจัดตั้งสถาน
                  สงเคราะห์สัตว์ในพื้นที่ บางพื้นที่ที่ดินมีราคาสูง บางพื้นที่ประชาชนคัดค๎านการด าเนินการกํอสร๎าง
                                    2) งบประมาณที่ใช๎ในการกํอสร๎างและการด าเนินการสถานสงเคราะห์สัตว์เป็นจ านวนมาก
                                    3) ขาดบุคลากรการบริหารจัดการสถานสงเคราะห์สัตว์

                                    การจัดตั้งศูนย์สงเคราะห์สัตว์ในระดับจังหวัด ต๎องพิจารณาความพร๎อมให๎ครบทุกด๎าน
                  โดยเฉพาะการบริหารจัดการสัตว์จรจัดในระยะยาว ทั้งความพร๎อมของเจ๎าภาพและงบประมาณ เจ๎าหน๎าที่
                  ผู๎ดูแล การบริหารจัดการศูนย์ฯ การดูแลสัตว์และต๎องไมํรบกวนตํอประชาชน ฯลฯ โดยที่องค์การบริหาร

                  สํวนจังหวัดสํวนใหญํยังให๎ความส าคัญในการแก๎ไขปัญหาสัตว์จรจัดน๎อย จึงยังไมํได๎รับความรํวมมือผลักดัน
                  จัดตั้งศูนย์สงเคราะห์สัตว์ระดับจังหวัดเทําที่ควร
   81   82   83   84   85   86   87   88   89   90   91