Page 35 - anualreport-64
P. 35

35

                         ผลการตรวจราชการ

                         จากการตรวจราชการพบวําการด าเนินการก าจัด
                  ผักตบชวาและวัชพืชในแหลํงน้ าเปิด แหลํงน้ าเชื่อมโยง
                  และแหลํงน้ าปิดสาธารณะทั่วประเทศ ประจ าปี 2564
                  กระทรวงมหาดไทยได๎บูรณาการรํวมกับ 5 หนํวยงาน

                  หลักที่เกี่ยวข๎อง ได๎แกํ กรมโยธาธิการและผังเมือง
                  กรมเจ๎าทํา กรมชลประทาน กรมการปกครอง และ
                  กรมสํงเสริมการปกครองท๎องถิ่น สามารถด าเนินการ
                  จัดเก็บผักตบชวา ได๎จ านวน 5,319,444 ตัน

                  โดยในสํวนของลุํมน้ าภาคกลางและภาคตะวันออก
                  จ านวน 19 จังหวัด มีผลการด าเนินการก าจัด
                  ผักตบชวาและวัชพืช รวมทั้งสิ้น 511,912.65 ตัน

                  โดยในขณะนี้ทุกหนํวยงานยังคงเรํงจัดเก็บผักตบชวา
                  และวัชพืชในสํวนที่เหลือโดยเร็วที่สุด

                           นอกจากนี้ กระทรวงมหาดไทย โดยกรมการปกครอง ได๎ด าเนินการก าจัดผกตบชวาและวัชพืช
                    ผํานการมีสํวนรํวมของภาคประชาชน ภายใต๎โครงการ “ชมรมคนริมน้ า”.กวํา 7,656.ชมรม จ านวน

                    สมาชิก 1,424,531 คน ซึ่งได๎รํวมกับสํวนราชการ ทหาร ต ารวจ หนํวยงานในพื้นที่ และจิตอาสา

                    จัดกิจกรรมก าจัดผักตบชวา จ านวน 20,871 กิจกรรม พร๎อมสํงเสริมการสร๎างประโยชน์ในทางเศรษฐกิจ

                    จากผักตบชวา สร๎างรายได๎ให๎แกํประชาชนในพื้นที่ รวมทั้ง กรมสํงเสริมการปกครองท๎องถิ่น ได๎จัดสรรเรือ
                    ท๎องแบนติดเครื่องยนต์ จ านวน 1,582 ล า ให๎กับองค์กรปกครองสํวนท๎องถิ่น ในการดูแลจัดเก็บ

                    ผักตบชวาขนาดเล็กและวัชพืชตามแหลํงน้ าที่อยูํในความรับผิดชอบ จ านวน 1,899 แหลํงน้ า

                            ปัญหาอุปสรรค           1..ผักตบชวาเป็นพืชที่เจริญเติบโตงําย แพรํพันธุ์รวดเร็วและอาจ

                                                 เคลื่อนย๎ายไปตามกระแสน้ า ท าให๎การจัดเก็บยุํงยาก เมื่อปริมาณ
                                                 ผักตบชวามีมากไมํสามารถจัดเก็บโดยใช๎แรงงานคน (อาสาสมัคร) ได๎

                                                 จึงต๎องใช๎เครื่องจักรกล อาทิ เรือก าจัดผักตบชวา รถขุดตักแขนยาว

                                                 ติดทุํน เรือดันผักตบ รถบรรทุกขนย๎าย ฯลฯ ท าให๎กระบวนการก าจัด
                                                 ผักตบชวายุํงยากซับซ๎อนและต๎องใช๎งบประมาณมาก นอกจากนี้
                                                 เศษผักตบชวาที่จัดเก็บยังไมํมีมูลคํามากเพียงพอที่จะน าไปใช๎ประโยชน์

                                                 อยํางคุ๎มทุน

                                                   2..วิธีการก าจัดผักตบชวาขององค์กรปกครองสํวนท๎องถิ่น บางพื้นที่
                                                 ไมํถูกต๎องท าให๎เกิดผลกระทบตํอสิ่งแวดล๎อม อาทิ การใช๎ยาก าจัดวัชพืช
                                                 ฉีดพํน ฯลฯ

                                                   3..จังหวัดไมํมีงบประมาณเพื่อด าเนินการก าจัดปัญหาผักตบชวา


                                                 ในพื้นที่ ต๎องขอรับการสนับสนุนทรัพยากร อาทิ เครื่องจักร
                                                 งบประมาณ บุคลากร จากหนํวยงานอื่น ๆ จึงท าให๎การแก๎ไขปัญหา
                                                 ผักตบชวาในพื้นที่ไมํเป็นไปตามเปูาหมาย
   30   31   32   33   34   35   36   37   38   39   40