Page 36 - anualreport-64
P. 36

36


                 “              ข้อเสนอแนะจากการตรวจราชการ (เชิงพื้นที่)


                                 ขอให๎จังหวัดใช๎กลไกคณะท างานแก๎ไขปัญหาผักตบชวาระดับจังหวัดเป็นเวทีในการ

                        บริหารจัดการ เรํงรัด วางแผน และประสานการก าจัดผักตบชวาในแหลํงน้ าประเภทตําง ๆ

                        ในพื้นที่จังหวัด กรณีเป็นแหลํงน้ าเปิดของหนํวยงานสํวนกลางให๎จังหวัดขอรับการสนับสนุน

                        การแก๎ไขปัญหาผักตบชวาโดยเร็ว ส าหรับกรณีแหลํงน้ าปิดขององค์กรปกครองสํวนท๎องถิ่น

                        ควรให๎ องค์การบริหารสํวนจังหวัด สนับสนุนเครื่องจักร/งบประมาณ (ถ๎ามี) โดยให๎อ าเภอเป็น

                        ผู๎ชี้ข๎อมูลแหลํงน้ าเปูาหมาย/จ านวนพื้นที่/ป2. ขอให๎จังหวัดมุํงเน๎นการมีสํวนรํวมของประชาชน

                        ในการดูแลรักษาแหลํงน้ าล าคลองจัดเก็บผักตบชวา กระตุ๎นเตือนให๎จัดกิจกรรมจัดเก็บและ

                        ก าจัดผักตกชวาในพื้นที่บริเวณริมน้ าหรือแหลํงน้ าที่ชุมชนใช๎ประโยชน์อยํางตํอเนื่อง
                                 ขอให๎จังหวัดมุํงเน๎นการมีสํวนรํวมของประชาชนในการดูแลรักษาแหลํงน้ าล าคลอง

                        จัดเก็บผักตบชวา กระตุ๎นเตือนให๎จัดกิจกรรมจัดเก็บและก าจัดผักตกชวาในพื้นที่บริเวณริมน้ า

                        หรือแหลํงน้ าที่ชุมชนใช๎ประโยชน์อยํางตํอเนื่อง

                                ข้อเสนอแนะจากการตรวจราชการ (เชิงนโยบาย)
                                 ควรจัดสรรงบประมาณให๎จังหวัดเพื่อบริหารจัดการแก๎ไขปัญหาผักตบชวาในพื้นที่
                        กรณีองค์กรปกครองสํวนท๎องถิ่น ควรก าหนดจัดเก็บผักตบชวาเป็นกลุํมพื้นที่ ชํวยให๎แตํละ

                        องค์กรปกครองสํวนท๎องถิ่น รํวมสนับสนุนงบประมาณของท๎องถิ่นเป็นคําใช๎จํายในการด าเนินการ

                                 ควรหานวัตกรรมการก าจัดผักตบชวาที่ลดต๎นทุนคําใช๎จํายหรืองบประมาณ
                        ด าเนินการ อาทิ การทดลองใช๎สารชีวภัณฑ์ของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ก าจัดผักตบชวา

                        ในแหลํงน้ าปิด ฯลฯ

                                 เนื่องจากผักตบชวาสํวนใหญํที่อยูํในแมํน้ า ล าคลอง แหลํงน้ าเปิด มีจ านวนมาก
                        และมีการก าจัดไมํหมดในพื้นที่ต๎นทาง จึงไหลลงไปในพื้นที่อ าเภอ/จังหวัดอื่น ท าให๎อ าเภอ/

                        จังหวัดอื่นที่อยูํปลายน้ าเกิดปัญหาในการก าจัดมากกวําต๎นทาง รัฐจึงควรก าหนดระยะเวลา

                        เป็นแผนการก าจัดผักตบชวาประจ าปีครั้งใหญํทุกปีพร๎อมกันทั้งประเทศ เพื่อให๎การก าจัด

                        ผักตบชวาเกิดผลส าเร็จทั้งในต๎นทางและปลายทางไมํเกิดปัญหาการไหลไปรวมกันที่ปลายทาง

                                 ควรก าจัดผับตบชวาตั้งแตํต๎นอํอนหรือยังมีจ านวนน๎อยเพื่อปูองกันไมํให๎เกิดการ
                        ขยายพันธุ์เป็นจ านวนมาก



                                                                                                     ”

                               ผลการขับเคลื่อนตามข้อเสนอแนะ
                               จังหวัดได๎จัดท าแผนปฏิบัติการก าจัดผักตบชวาโดยใช๎แนวทางตามแผนปฏิบัติการปูองกันและ
                  แก๎ไขปัญหาผักตบชวาในแหลํงน้ าปิด แหลํงน้ าเชื่อมโยง และด าเนินการก าจัดผักตบชวาตามแผนอยํางเรํงดํวน
                  โดยได๎บูรณาการกับทุกภาคสํวนที่เกี่ยวข๎องเพื่อปูองกันไมํให๎ผักตบชวากลับมาสร๎างปัญหาขึ้นอีก และเมื่อ
                  ด าเนินการก าจัดผักตบชวาเสร็จสิ้นตามแผนแล๎ว จักได๎วางมาตรการในการดูแลรักษาแหลํงน้ าตํอไป โดยแตํงตั้ง

                  คณะกรรมการบูรณาการดูแลแหลํงน้ าในระดับจังหวัดและมอบหมายให๎องค์กรปกครองสํวนท๎องถิ่นในพื้นที่
                  ดูแลรักษาแหลํงน้ าในพื้นที่รับผิดชอบ ตลอดจนการรณรงค์ให๎ประชาชน ภาคเอกชน ภาครัฐ รํวมมือกันในรูป
                  “ประชารัฐ”.เฝูาระวังดูแลรักษาแหลํงน้ าบริเวณที่พัก แหลํงทํองเที่ยว แหลํงน้ าสาธารณะอยํางตํอเนื่อง

                  และรณรงค์ในการน าผักตบชวาไปใช๎ประโยชน์ เชํน การท าปุ๋ยอินทรีย์ สร๎างผลิตภัณฑ์ชุมชน หรือผลิตอาหารสัตว์
                  เป็นต๎น เพื่อให๎การแก๎ไขปัญหาเกิดความยั่งยืน
   31   32   33   34   35   36   37   38   39   40   41