Page 70 - anualreport-64
P. 70

70

                            การมอบอ านาจการโอนเปลี่ยนแปลงโครงการและงบประมาณที่กระทบต่อกลุ่มเป้าหมายหรือ

                  วัตถุประสงค์ของโครงการ
                            จังหวัดและกลุ่มจังหวัดยังคงประสบปัญหาในการโอนเปลี่ยนแปลงโครงการและงบประมาณ
                  โดยผู้ตรวจราชการส านักนายกรัฐมนตรี เห็นว่า ตามหลักเกณฑ์การเปลี่ยนแปลงโครงการตามแผนปฏิบัติ
                  ราชการประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 ของจังหวัดและกลุํมจังหวัด และการใช๎เงินเหลือจําย จะก าหนดให้

                  จังหวัดและกลุ่มจังหวัดด าเนินโครงการตามที่ ก.บ.ภ. ให๎ความเห็นชอบไว๎แล๎ว แตํยังไมํได๎รับจัดสรรงบประมาณ
                  กํอน ซึ่งไมํมีความยืดหยุํนและเป็นอุปสรรคตํอการบริหารงบประมาณของจังหวัดและกลุํมจังหวัด และ
                  การเปลี่ยนแปลงโครงการใหมํที่ไมํอยูํในแผนปฏิบัติราชการประจ าปีของจังหวัดและกลุํมจังหวัด หรือโครงการ

                  เดิมที่มีการเปลี่ยนแปลงกระทบตํอกลุํมเปูาหมายหรือวัตถุประสงค์ของโครงการ จะกระท าได้แต่ต๎องเสนอ
                  ขอความเห็นชอบจากประธานอนุกรรมบูรณาการนโยบายพัฒนาภาค (อ.ก.บ.ภ.) ที่ก ากับดูแลภาคกํอนด าเนินการ
                  โดยสํงค าขอเปลี่ยนแปลงโครงการ มายังฝุายเลขานุการ ก.บ.ภ. ภายในเดือนมีนาคมของปีงบประมาณ ซึ่งการส่ง
                  ค าขอโอนเปลี่ยนแปลงโครงการในปีงบประมาณได้เพียงปีละ ๑ ครั้งนั้น ไมํเพียงพอ เนื่องจากจังหวัดอาจมี
                  ความจ าเป็นต๎องขอโอนเปลี่ยนแปลงเพื่อให๎สอดคล๎องกับสถานการณ์ปัจจุบัน อีกทั้งยังไม่สอดคล้อง

                  กับการบริหารงบประมาณของจังหวัด ประกอบกับต๎องรอการพิจารณาจากประธาน อ.ก.บ.ภ. ที่ก ากับดูแลภาค
                  ซึ่งมีการประชุมน๎อยครั้งตํอปี และไมํมีกรอบระยะเวลาการพิจารณาครั้งตํอไปที่ชัดเจน ท าให๎เกิดความลําช๎า
                  ไมํคลํองตัวในการด าเนินงาน

                              การบริหารสินทรัพย์ที่เกิดจากการด าเนินโครงการตามแผนพัฒนาจังหวัดและกลุ่มจังหวัด
                              จังหวัดและกลุ่มจังหวัดยังคงประสบปัญหาเกี่ยวกับการโอนสินทรัพย์ กล่าวคือ ไมํมีหนํวยงาน
                  รับโอนสินทรัพย์ ท าให้สินทรัพย์ยังคงค้างในระบบการเงินของส านักงานจังหวัดในฐานะหน่วยเบิกจ่าย
                  งบประมาณ/เจ้าของงบประมาณ โดยหน่วยงานต้นสังกัดของหน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ (หน่วยงาน

                  ส่วนกลาง) ไม่ยอมรับโอนสินทรัพย์ที่เกิดจากการด าเนินโครงการภายใต้แผนปฏิบัติราชการประจ าปีของจังหวัด
                  และกลุ่มจังหวัด อีกทั้งส่วนราชการส่วนกลางบางแห่งมีนโยบายไม่รับโอนสินทรัพย์จากส่วนราชการอื่น ท าให้
                  การดูแลบ ารุงรักษาสินทรัพย์จากโครงการฯ ขาดประสิทธิภาพ ทั้งนี้ คณะกรรมการวินิจฉัยปัญหาการจัดซื้อจัดจ๎าง
                  และการบริหารพัสดุภาครัฐ ได๎ขยายระยะเวลาการยกเว๎นการปฏิบัติตามระเบียบกระทรวงการคลังวําด๎วย

                  การจัดซื้อจัดจ๎างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. 2560 กรณีให๎จังหวัดและกลุํมจังหวัดด าเนินการโอนพัสดุ
                  ครุภัณฑ์คุณภาพดีและยังสามารถใช๎งานได๎ที่ได๎จากการจัดซื้อจัดจ๎างโดยใช๎งบประมาณของจังหวัดหรือ
                  กลุํมจังหวัด ให๎แล๎วเสร็จภายในปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 นั้น จังหวัดไมํสามารถด าเนินการให๎แล๎วเสร็จ
                  ทันก าหนดได๎ เนื่องจากพัสดุ ครุภัณฑ์ ที่ได๎มาจากการใช๎จํายงบประมาณของจังหวัดมีจ านวนมาก ประกอบกับ

                  ขั้นตอนกระบวนการโอนสินทรัพย์ในระบบ GFMIS  มีความยุํงยาก ซับซ๎อน และเอกสารแบบฟอร์มการโอน
                  ครุภัณฑ์มีรายละเอียดมาก ซึ่งต๎องใช๎ระยะเวลาด าเนินการ เอกสารหลักฐานไมํครบถ๎วน อีกทั้งเจ๎าหน๎าที่
                  ที่เกี่ยวข๎องกับการปฏิบัติงานในสํวนของจังหวัดในฐานะผู๎โอนและหนํวยงานของรัฐในฐานะผู๎รับโอนยังไมํมี

                  ความช านาญในขั้นตอนกระบวนการโอนสินทรัพย์ในระบบ GFMIS จึงควรขยายระยะเวลาด าเนินการออกไปอีก
                           4. ข้อเสนอแนะของผู้ตรวจราชการส านักนายกรัฐมนตรีและผู้ตรวจราชการกระทรวงมหาดไทย

                             จากการตรวจติดตามและประเมินผลการด าเนินการตามแผนพัฒนาจังหวัดและกลุ่มจังหวัด
                  ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๔ ผู้ตรวจราชการส านักนายกรัฐมนตรีและผู้ตรวจราชการกระทรวงมหาดไทย
                  ได้พบปัญหาอุปสรรคบางประการในการบริหารงานจังหวัดและกลุ่มจังหวัดแบบบูรณาการ จึงได้มีข้อเสนอแนะ

                  ระดับนโยบายเพื่อให้การด าเนินการตามแผนพัฒนาจังหวัดและกลุ่มจังหวัดมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น ดังนี้
                             4.๑   การบริหารโครงการจากกระบวนการจัดซื้อจัดจ้าง
                                    (๑)..กรณีปัญหาผู๎เสนอราคาต่ ากวําราคากลางในการจัดซื้อจัดจ๎างถึงประมาณ ร๎อยละ 35 - 50
                  อาจได๎ผู๎รับจ๎างไมํมีประสิทธิภาพหรือสํงผลตํอคุณภาพงานภายหลังท าสัญญา และอาจทิ้งงานต๎องหา
                  ผู๎รับจ๎างรายใหมํ ท าให๎การด าเนินงานลําช๎ากวําแผนด าเนินงาน ซึ่งตามระเบียบกระทรวงการคลังวําด๎วยการจัดซื้อ
   65   66   67   68   69   70   71   72   73   74   75