Page 71 - anualreport-64
P. 71

71
                  จัดจ๎างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. ๒๕๖๐ ยังไมํครอบคลุมปัญหาดังกลําว ในเรื่องนี้ กระทรวงการคลัง

                  ควรก าหนดมาตรการหรือแนวทางปฏิบัติให๎สํวนราชการถือปฏิบัติเพื่อแก๎ไขปัญหาผู๎เสนอราคาต่ ากวําราคากลาง
                  อยํางเป็นนัยส าคัญในการจัดซื้อจัดจ๎าง
                                    (๒)..การจัดซื้อจัดจ๎างโดยวิธีประกวดราคาอิเล็กทรอนิกส์จะมีผู๎รับจ๎างสํวนหนึ่งมุํงหวัง
                  ที่จะหาผู๎รับจ๎างรายยํอยในภายหลัง และบางรายรับงานไว๎หลายโครงการ ซึ่งเมื่อประสบปัญหาหาผู๎รับจ๎างราย

                  ยํอยไมํได๎ จึงต๎องทิ้งงานในที่สุด สํงผลตํอการเบิกจํายงบประมาณภาครัฐในภาพรวม ในเรื่องนี้กระทรวงการคลัง
                  ควรออกมาตรการที่เข๎มงวดรัดกุม ในการปูองกันผู๎รับจ๎างประเภทดังกลําว เพื่อปูองกันปัญหาผู๎รับจ๎างทิ้งงาน
                  หรือการด าเนินงานลําช๎า ซึ่งอาจเกิดขึ้นอีกในอนาคต

                             4.๒   การโอนสินทรัพย์ที่เกิดจากการด าเนินโครงการตามแผนปฏิบัติราชการประจ าปี
                  ของจังหวัดและกลุ่มจังหวัด
                                    (๑)..หน่วยงานต้นสังกัดของหน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ (หน่วยงานส่วนกลาง)
                  ไม่ยอมรับโอนสินทรัพย์ที่เกิดจากการด าเนินโครงการตามแผนปฏิบัติราชการประจ าปีของจังหวัดและ
                  กลุ่มจังหวัด ท าให้สินทรัพย์ยังคงค้างในระบบการเงินของส านักงานจังหวัดในฐานะหน่วยเบิกจ่ายงบประมาณ/

                  เจ้าของงบประมาณ อีกทั้งส่วนราชการส่วนกลางบางแห่งมีนโยบายไม่รับโอนสินทรัพย์จากส่วนราชการอื่น
                  ท าให้การดูแลบ ารุงรักษาสินทรัพย์จากโครงการฯ ขาดประสิทธิภาพ จึงเห็นสมควรพิจารณาด าเนินการ ดังนี้
                                       (๑.๑) กระทรวงการคลัง โดยคณะกรรมการวินิจฉัยฯ ควรก าหนดให๎หนํวยงาน

                  ที่ได๎รับการจัดสรรงบประมาณภายใต๎แผนปฏิบัติราชการประจ าปีของจังหวัดและกลุ่มจังหวัด รายการงบลงทุน
                  เป็นเจ๎าของทรัพย์สินตามโครงการฯ และมีหน๎าที่บริหารทรัพย์สิน โดยส านักงานจังหวัดไมํต๎องด าเนินการ
                  ในเรื่องการโอนทรัพย์สินนั้นอีก
                                       (๑.๒) ในการพิจารณาสนับสนุนงบประมาณตามโครงการ ควรให๎ความส าคัญกับ

                  ความพร๎อมของโครงการ โดยเฉพาะการได๎รับอนุญาตใช๎ประโยชน์ในพื้นที่ของโครงการ แผนการบริหารจัดการ
                  ภายหลังโครงการแล๎วเสร็จ และศักยภาพของหนํวยงานที่จะรับโอนโครงการ ซึ่งควรมีการสอบถามองค์กร
                  ปกครองสํวนท๎องถิ่นในพื้นที่หรือหนํวยงานที่จะรับโอนโครงการวํา มีศักยภาพเพียงพอที่จะรับโอนโครงการและ
                  บริหารจัดการดูแลรักษาโครงการได๎หรือไมํ ทั้งนี้ ควรมีเอกสารหลักฐานในการยินยอมที่จะรับดูแลรักษาภายหลัง

                  โครงการแล๎วเสร็จด๎วย เพื่อให๎โครงการเกิดความคุ๎มคํากับงบประมาณของแผํนดิน
                                    (๒)  คณะกรรมการวินิจฉัยฯ ได๎อนุมัติขยายระยะเวลาการยกเว๎นการปฏิบัติตามระเบียบ
                  กระทรวงการคลัง วําด๎วยการจัดซื้อจัดจ๎างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. 2560 กรณีการโอนพัสดุ ครุภัณฑ์
                  ที่มีคุณภาพดีและยังสามารถใช๎งานได๎ของจังหวัดและกลุํมจังหวัด ที่ได๎จัดซื้อจัดจ๎างโดยใช๎งบประมาณของ

                  จังหวัดหรือกลุํมจังหวัด ให๎แล๎วเสร็จภายในปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 ซึ่งจังหวัดไมํสามารถด าเนินการให๎แล๎วเสร็จ
                  ภายในปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 ได๎ ในเรื่องนี้ กระทรวงการคลัง โดยคณะกรรมการวินิจฉัยฯ ควรขยาย
                  ระยะเวลาการด าเนินงานไปในปีงบประมาณ พ.ศ. 2565

                             4.๓   การเปลี่ยนแปลงโครงการตามแผนปฏิบัติราชการของจังหวัดและกลุ่มจังหวัด
                                   (๑)  ก.บ.ภ. ควรมอบอ านาจให๎คณะกรรมการบริหารงานจังหวัดแบบบูรณาการ (ก.บ.จ.)
                  หรือคณะกรรมการบริหารงานกลุํมจังหวัดแบบบูรณาการ (ก.บ.ก.) แล๎วแตํกรณี สามารถพิจารณาให๎ความเห็นชอบใน
                  การโอนเปลี่ยนแปลงโครงการงบประมาณของจังหวัดและกลุํมจังหวัด รวมถึงการขอใช๎งบเหลือจําย เพื่อเป็นการ
                  ลดขั้นตอนและระยะเวลาไมํให๎เกิดความลําช๎าตํอการด าเนินโครงการ/กิจกรรม และรายงาน ก.บ.ภ. ทราบ หรือ

                  อ.ก.บ.ภ. ที่ก ากับดูแลภาคเพื่อทราบ เพื่อจัดท ารายงานข๎อเสนอแนะเป็นรายปี นอกจากนี้ ควรเพิ่มสัดสํวนภาค
                  ประชาสังคม องค์กรภาคเอกชน และสถาบันการศึกษาใน ก.บ.จ. หรือ ก.บ.ก. เพื่อสร๎างการมีสํวนรํวมในการบริหาร
                  งบประมาณ และเป็นตัวแทนของพื้นที่ในการสะท๎อนปัญหาและความต๎องการของประชาชน

                                 (๒)  ก.บ.ภ. ควรก าหนดหลักเกณฑ์การใช๎เงินเหลือจํายให๎มีความยืดหยุํน และทันตํอ
                  สถานการณ์ ไมํควรจ ากัดเฉพาะโครงการส ารอง Y2 ที่ได๎รับความเห็นชอบจาก ก.บ.ภ. แล๎วเทํานั้น
   66   67   68   69   70   71   72   73   74   75   76