Page 87 - anualreport-64
P. 87

87


                               2.1.9 องค์กรปกครองสํวนท๎องถิ่นยังขาดความเข๎าใจและเห็นประโยชน์ในการจัดตั้ง

                  ศูนย์สงเคราะห์สัตว์ของภาคเอกชน เชํน วัด มูลนิธิ เพื่อแก๎ไขปัญหาสัตว์จรจัดในพื้นที่ขององค์กรปกครอง
                  สํวนท๎องถิ่น
                               2.1.10.สถานสงเคราะห์สัตว์เอกชนบางแหํงไมํสามารถขึ้นทะเบียนสถานสงเคราะห์สัตว์ได๎
                  เนื่องจากไมํมีกรรมสิทธิ์ในที่ดินที่ตั้งสถานสงเคราะห์สัตว์

                               2.1.11 ผู๎บริหารองค์กรปกครองสํวนท๎องถิ่นยังเห็นวําโรคพิษสุนัขบ๎ายังมิใชํปัญหาส าคัญ
                  ของท๎องถิ่น.จึงขาดความสนใจและความกระตือรือร๎นในการด าเนินการขับเคลื่อนผลักดันให๎เป็นไป
                  ตามเปูาหมาย หรืออาจขาดความรู๎ความเข๎าใจในเรื่องโรคพิษสุนัขบ๎าอยํางเพียงพอ

                               2.1.12 จังหวัดมอบให๎ท๎องถิ่นจังหวัดท าหน๎าที่ติดตามประเมินผลการขับเคลื่อนโครงการฯ
                  ขององค์กรปกครองสํวนท๎องถิ่น แตํยังขาดการมีสํวนรํวมของสํวนราชการ อาทิ ปศุสัตว์ สาธารณสุข และ
                  ตัวแทนองค์กรปกครองสํวนท๎องถิ่น ในการวางแผนและด าเนินการขับเคลื่อนอยํางมีทิศทาง เปูาหมาย และ
                  ก าหนดแนวทางติดตามประเมินผลที่นําเชื่อถือตรงตามความเป็นจริงในพื้นที่
                               2.1.13.ในพื้นที่ที่อยูํทางแถบชายแดน หรือมีชาวตํางชาติอยูํอาศัยหรือท างาน ควรมี

                  การปรับปรุงสื่อประชาสัมพันธ์โดยเพิ่มภาษาตํางชาติ เพื่อให๎ชาวตํางชาติที่อยูํในพื้นที่นั้นได๎รับรู๎และตระหนัก
                  ในการเฝูาระวังและปูองกันโรค

                           2.2 ระดับนโยบาย
                               2.2.1.ส านักงานสํงเสริมการปกครองท๎องถิ่นจังหวัดในฐานะเป็นผู๎ประสานการขับเคลื่อน
                  การด าเนินงานตามโครงการสัตว์ปลอดโรค คนปลอดภัยจากโรคพิษสุนัขบ๎าของท๎องถิ่นไมํอาจเข๎าถึงข๎อมูล

                  ผลการด าเนินงานขององค์กรปกครองสํวนท๎องถิ่นในพื้นที่จังหวัด (ระบบข๎อมูล Rabies One Data) จึงไมํสามารถ
                  ติดตามผลการส ารวจข๎อมูลสัตว์ (สุนัข/แมว) กระบวนการส ารวจข๎อมูลที่เป็นปัจจุบัน (Real.time)
                  ได๎อยํางรวดเร็ว อีกทั้งเมื่อองค์กรปกครองสํวนท๎องถิ่นเกิดปัญหาในการกรอกข๎อมูลหรือใช๎ระบบ จังหวัด/

                  อ าเภอไมํสามารถตอบค าถามองค์กรปกครองสํวนท๎องถิ่นได๎ เนื่องจากไมํเคยเข๎าไปใช๎งานจริงในระบบ
                               2.2.2 การติดตํอสํวนกลางในการสอบถามข๎อสงสัยเกี่ยวกับการกรอกข๎อมูลในระบบ Rabies
                  One.Data ท าได๎ยาก และบางครั้งสํวนกลางไมํอาจให๎ค าตอบได๎ทันที ประกอบกับการเข๎าบันทึกในระบบ
                  มีความยุํงยาก บางครั้งเข๎าระบบไมํได๎ ท าให๎การด าเนินการกรอกข๎อมูลเป็นไปอยํางลําช๎า

                               2.2.3 ข๎อมูลจ านวนสุนัข/แมว ทั้งมีเจ๎าของและสัตว์จรจัดที่องค์กรปกครองสํวนท๎องถิ่น
                  ด าเนินการส ารวจยังไมํอาจรับรองความถูกต๎องตรงตามความเป็นจริง เนื่องจากขั้นตอน/กระบวนการจัดเก็บ
                  ข๎อมูลยังไมํมีการวางแนวทางการตรวจสอบและรับรองอยํางรอบคอบรัดกุม
                               2.2.4 การจัดสรรเงินอุดหนุนคําส ารวจและฉีดวัคซีนให๎องค์กรปกครองสํวนท๎องถิ่นไมํเป็นไป

                  ตามแผนการท างานขององค์กรปกครองสํวนท๎องถิ่นสํวนใหญํ เชํน การส ารวจข๎อมูลจ านวนสุนัข/แมว
                  ขององค์กรปกครองสํวนท๎องถิ่นต๎องเริ่มด าเนินการชํวงเดือนมกราคม - กุมภาพันธ์ และเรํงฉีดวัคซีนชํวงเดือน
                  มีนาคม - พฤษภาคม แตํปรากฏวํา องค์กรปกครองสํวนท๎องถิ่นได๎รับจัดสรรงบประมาณฯ (งวดที่ 1) ประจ าปี
                  งบประมาณ พ.ศ. 2564 เมื่อเดือนเมษายน 2564 ท าให๎ระยะเวลาการท างานขององค์กรปกครองสํวนท๎องถิ่น

                  มีข๎อจ ากัด สํงผลตํอคุณภาพและความส าเร็จของโครงการฯ อาทิ การส ารวจจ านวนสุนัข/แมว การฉีดวัคซีน
                  สัตว์โดยเฉพาะกรณีกลุํมสัตว์จรจัด
                               2.2.5  การจัดหาวัคซีนปูองกันโรคพิษสุนัขบ๎าแยกเป็นรายองค์กรปกครองสํวนท๎องถิ่น ท าให๎

                  วงเงิน/จ านวนวัคซีนกระจายตัว ขณะที่แตํละองค์กรปกครองสํวนท๎องถิ่นมีข๎อจ ากัดด๎านบุคลากรที่มีความรู๎
                  ด๎านวัคซีนฯ ปรากฏวําเจ๎าหน๎าที่จัดหาวัคซีนฯ เป็นเจ๎าหน๎าที่พัสดุที่ด าเนินการจัดซื้อ เนื่องจากเป็นการจัดซื้อ
                  โดยวิธีเฉพาะเจาะจง (วงเงินไมํเกิน 500,000 บาท) ตามระเบียบกระทรวงการคลังวําด๎วยการจัดซื้อจัดจ๎าง
                  และการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ.2560 จึงไมํมีกระบวนการตรวจสอบคุณภาพวัคซีนกํอนท าสัญญาจัดซื้อ
                  ไมํมีขั้นตอนการตั้งคณะกรรมการที่มีความรู๎ด๎านวัคซีนมาด าเนินการคัดเลือกท าให๎มีความเสี่ยงในการจัดหาวัคซีน
   82   83   84   85   86   87   88   89   90   91   92