Page 91 - anualreport-64
P. 91

91


                  รวมทั้งการฝึกอบรมอาสาสมัครฉีดวัคซีนปูองกันโรคพิษสุนัขบ๎าเพื่อสร๎างพื้นที่ปลอดโรคพิษสุนัขบ๎าน ารํอง

                  แตํละแหํงและขยายผลให๎ครอบคลุมทุกพื้นที่ตํอไปในอนาคต
                               4.1.12.ควรจัดตั้งคณะกรรมการขับเคลื่อนโครงการฯ ในระดับจังหวัดและระดับอ าเภอ
                  โดยในระดับจังหวัดมอบหมายให๎รองผู๎วําราชการจังหวัดเป็นประธาน สาธารณสุขจังหวัด ปศุสัตว์จังหวัด และ
                  สํวนราชการที่เกี่ยวข๎อง ได๎แกํ ส านักงานพระพุทธศาสนาจังหวัด ส านักงานเขตพื้นที่การศึกษา ฯลฯ ตัวแทน

                  องค์กรปกครองสํวนท๎องถิ่น อาทิ องค์การบริหารสํวนจังหวัด เทศบาล องค์การบริหารสํวนต าบล โดยมีท๎องถิ่น
                  จังหวัดเป็นเลขานุการ เพื่อก าหนดแนวทางขับเคลื่อนโครงการฯ 5 ด๎าน มุํงเน๎นให๎องค์กรปกครองสํวนท๎องถิ่น
                  เป็นหนํวยปฏิบัติ ขณะที่คณะกรรมการในระดับอ าเภอให๎นายอ าเภอเป็นประธาน ปศุสัตว์อ าเภอและ

                  สาธารณสุขอ าเภอเป็นกรรมการ โดยมีท๎องถิ่นอ าเภอเป็นฝุายเลขานุการ เพื่อด าเนินการติดตาม ก ากับ และ
                  ประเมินผลการปฏิบัติงานขององค์กรปกครองสํวนท๎องถิ่นในพื้นที่
                               4.1.13.ปศุสัตว์จังหวัดต๎องรับผิดชอบประเมินสถานการณ์ความเสี่ยงตํอการแพรํระบาด
                  ของโรคพิษสุนัขบ๎าในสัตว์ การท าแผนการสุํมตัวอยํางทดสอบ การเรํงรัดติดตามการฉีดวัคซีนในสัตว์
                  โดยเฉพาะสุนัขและแมวจรจัด การบริหารจัดการควบคุมสัตว์จรจัด อาทิ การผําตัดท าหมัน การฉีดวัคซีน

                  การสนับสนุนการจัดตั้งศูนย์พักพิงสัตว์จรจัดของท๎องถิ่น ฯลฯ
                               4.1.14.ควรมีการถอดบทเรียนการขับเคลื่อนโครงการสัตว์ปลอดโรค คนปลอดภัยจาก
                  โรคพิษสุนัขบ๎าในระดับพื้นที่ รับฟังการสะท๎อนปัญหาขององค์กรปกครองสํวนท๎องถิ่น ในการด าเนินการและ

                  รํวมเป็นพี่เลี้ยง ชํวยแนะน าแก๎ไข อาทิ การจัดหาวัคซีน การฉีดวัคซีน การควบคุมท าหมัน การขับเคลื่อนฯ
                  ในกลุํมสุนัขจรจัด การส ารวจข๎อมูลจ านวนสุนัข/แมว การจัดท าทะเบียนสัตว์
                               4.1.15.จังหวัดอาจใช๎ข๎อมูลการประเมินตนเองขององค์กรปกครองสํวนท๎องถิ่นที่เชื่อถือได๎
                  ในการจัดระดับศักยภาพขององค์กรปกครองสํวนท๎องถิ่น เพื่อมุํงเน๎นการยกระดับการสํงเสริมองค์กรปกครอง

                  สํวนท๎องถิ่น ให๎เป็นพื้นที่ปลอดโรคพิษสุนัขบ๎า และใช๎ตัวอยํางองค์กรปกครองสํวนท๎องถิ่นที่มีผลงานดีเดํน
                  (Best Practice) ในการพัฒนางานปูองกันโรคพิษสุนัขบ๎าขององค์กรปกครองสํวนท๎องถิ่นในพื้นที่

                           4.2 ระดับนโยบาย
                               4.2.1.ควรก าหนด.User/Password.ในการเข๎าสูํระบบ.Rabies.One.Data.ให๎ส านักงาน
                  สํงเสริมการปกครองท๎องถิ่นจังหวัดเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการตรวจสอบความถูกต๎องและครบถ๎วนของข๎อมูล

                  ครอบคลุมทุกพื้นที่ และเรํงรัดติดตามการด าเนินการขึ้นทะเบียนประชากรสุนัขและแมวในระบบบันทึกข๎อมูล
                  Rabies.One.Data ขององค์กรปกครองสํวนท๎องถิ่น รวมถึงสามารถทราบจ านวนในภาพรวมเพื่อการบริหาร
                  จัดการและขับเคลื่อนโครงการฯ ได๎อยํางรวดเร็วและมีประสิทธิภาพ
                               4.2.2.ควรปรับปรุงระบบ Rabies.One.Data.ให๎บันทึกข๎อมูลได๎งํายขึ้น ซึ่งอาจด าเนินการ

                  รวบรวมความคิดเห็นจากผู๎ใช๎งําย เพื่อให๎ทราบถึงปัญหาที่เกิดขึ้นและน าไปใช๎ปรับปรุงให๎ตรงกับความต๎องการ
                  ของผู๎ใช๎งาน
                               4.2.3 การจัดสรรเงินอุดหนุนเป็นคําส ารวจสัตว์เลี้ยง/สัตว์จรจัด ให๎องค์กรปกครองสํวนท๎องถิ่น
                  ด าเนินการ ควรวางแนวทางวิธีการจัดเก็บข๎อมูล การรับรองความถูกต๎องเพื่อให๎สามารถน าข๎อมูลมาใช๎

                  ประโยชน์ในการวางแผนการขับเคลื่อนโครงการฯ ทั้งในภาพรวมของจังหวัด และในระดับพื้นที่ท๎องถิ่นได๎อยําง
                  ถูกต๎อง
                               4.2.4  ควรมีการติดตามผลการด าเนินงานภายหลังการบังคับใช๎กฎหมาย ระเบียบข๎อบัญญัติ/

                  เทศบัญญัติวําด๎วยการควบคุมการเลี้ยง หรือปลํอยสัตว์ในพื้นที่ และศึกษาผลกระทบที่เกิดขึ้นจากการบังคับใช๎
                               4.2.5 การเพิ่มงบประมาณในการท าหมันสัตว์จรจัดเพื่อตัดวงจรสัตว์จรจัดให๎มีจ านวนลดน๎อยลง
                               4.2.6 การจ๎างเหมาท าหมันควรมีแนวทางให๎องค์กรปกครองสํวนท๎องถิ่นด าเนินการที่ชัดเจน
                  สะดวก และเป็นแนวทางปฏิบัติเดียวกัน เนื่องจากองค์กรปกครองสํวนท๎องถิ่นไมํมีบุคลากรด๎านสัตว์แพทย์ทุกแหํง
   86   87   88   89   90   91   92   93   94   95   96