Page 89 - anualreport-64
P. 89

89


                           ส าหรับการบันทึกข๎อมูลในระบบฐานข๎อมูลโรคพิษสุนัขบ๎าหนึ่งเดียว.(Rabies.One.Data).องค์กร

                  ปกครองสํวนท๎องถิ่นยังคงประสบปัญหาเรื่องของบุคลากรที่มีการปรับเปลี่ยนผู๎รับผิดชอบอยูํบํอยครั้ง ระบบ
                  การรับรองข๎อมูลที่ถูกต๎อง และระบบการกรอกข๎อมูลยังคงมีความยุํงยากซับซ๎อน ประกอบกับการติดตํอ
                  สํวนกลางเป็นไปได๎ยาก อีกทั้ง ส านักงานสํงเสริมการปกครองจังหวัดซึ่งเป็นหนํวยงานหลักในการติดตามผลการ
                  ด าเนินงานในท๎องถิ่นในภาพรวมของจังหวัดไมํสามารถเข๎าระบบได๎ จึงไมํสามารถติดตามการด าเนินงานของ

                  องค์กรปกครองสํวนท๎องถิ่นได๎รวดเร็ว และบริหารจัดการในภาพรวมของจังหวัดได๎ รวมถึงไมํสามารถตอบ
                  ข๎อซักถามขององค์กรปกครองสํวนท๎องถิ่นได๎
                           ส าหรับการออกข๎อบัญญัติ/เทศบัญญัติการควบคุมการเลี้ยงและปลํอยสัตว์ขององค์กรปกครอง

                  สํวนท๎องถิ่น องค์กรปกครองสํวนท๎องถิ่นบางแหํงยังไมํได๎ด าเนินการซึ่งทางผู๎ตรวจราชการกระทรวงมหาดไทย
                  ได๎ก าชับให๎จังหวัดเรํงรัดในการด าเนินการแล๎ว สํวนการบังคับใช๎ข๎อบัญญัติ/เทศบัญญัติฯ มีผลกระทบตํอ
                  ประชาชนในพื้นที่ ท าให๎ประชาชนในพื้นที่เกิดความไมํพอใจ อีกทั้งบางพื้นที่ยังบังคับใช๎ไมํเข๎มงวดพอ จึงควรมี
                  การประเมินผลกระทบอันเกิดจาการบังคับใช๎ข๎อบัญญัติ/เทศบัญญัติฯ เพื่อสามารถปรับปรุงในสํวนที่ยัง
                  บกพรํองให๎เกิดประสิทธิภาพในการดูแลสัตว์รวมถึงการปูองกันโรคพิษสุนัขบ๎าในพื้นที่

                           ส าหรับการจัดตั้งสถานสงเคราะห์สัตว์จรจัดขององค์กรปกครองสํวนท๎องถิ่นในพื้นที่ที่ยังไมํมี
                  การจัดตั้ง เนื่องจากประสบปัญหาในเรื่องของงบประมาณ สถานที่ตั้งที่เหมาะสมและต๎องได๎รับความยินยอม
                  จากประชาชนในพื้นที่ บุคลากรที่ต๎องบริหารจัดการสถานสงเคราะห์สัตว์จรจัดให๎ได๎มาตรฐาน และการวาง

                  ระบบบริหารจัดการสถานสงเคราะห์สัตว์ให๎เป็นไปตามมาตรฐาน เมื่อพิจารณาสถานสงเคราะห์สัตว์จรจัด
                  ที่ประสบความส าเร็จนั้น หัวใจส าคัญคือการบูรณาการรํวมกันของหลายหนํวยงาน ทั้งหนํวยงานสํวนกลาง
                  หนํวยงานสํวนภูมิภาค องค์กรปกครองสํวนท๎องถิ่น องค์กรเอกชน และประชาชน ตามบริบทการบริหารจัดการ
                  ในพื้นที่นั้น ๆ

                           การขับเคลื่อนการสร๎างพื้นที่ปลอดโรคพิษสุนัขบ๎า กรมสํงเสริมการปกครองท๎องถิ่นได๎มีหนังสือสั่งการ
                  แจ๎งหลักเกณฑ์การสร๎างพื้นที่ปลอดโรคและแนวทางการประเมินพื้นที่ปลอดโรคพิษสุนัขบ๎า เพื่อให๎องค์กร
                  ปกครองสํวนท๎องถิ่นใช๎ประเมินตนเองเบื้องต๎น ในการตรวจประเมินพื้นที่ปลอดโรคพิษสุนัขบ๎าของ
                  คณะกรรมการประเมินระดับอ าเภอ เพื่อประกาศเป็นพื้นที่ปลอดโรคพิษสุนัขบ๎า จังหวัดจึงได๎แจ๎งให๎องค์กร

                  ปกครองสํวนท๎องถิ่นประเมินตัวเองเบื้องต๎น และให๎อ าเภอแตํงตั้งคณะกรรมการการประเมินระดับอ าเภอ
                  พิจารณาคัดเลือกองค์กรปกครองสํวนท๎องถิ่นประกาศเป็นพื้นที่ปลอดโรคพิษสุนัขบ๎า ซึ่งในภาพรวม
                  ของการด าเนินงานอยูํระหวํางที่องค์กรปกครองสํวนท๎องถิ่นประเมินตนเองเบื้องต๎นตามหลักเกณฑ์ฯ
                               นอกจากนั้น จังหวัดได๎ขับเคลื่อนการด าเนินงานและบูรณาการการด าเนินงานของหนํวยงาน

                  ที่เกี่ยวข๎องรํวมกัน โดยรํวมด าเนินการในกิจกรรมรณรงค์ปูองกันโรคพิษสุนัขบ๎ากับองค์กรปกครองสํวนท๎องถิ่น
                  ในพื้นที่ กิจกรรมการฉีดวัคซีนปูองกันโรคพิษสุนัขบ๎า การควบคุมประชากรสัตว์โดยวิธีผําตัดท าหมัน และการให๎
                  ความรู๎เกี่ยวกับโรคพิษสุนัขบ๎าในคนและสัตว์ รวมทั้งการฝึกอบรมอาสาสมัครฉีดวัคซีนปูองกันโรคพิษสุนัขบ๎า

                  ในพื้นที่ขององค์กรปกครองสํวนท๎องถิ่น เพื่อเพิ่มพื้นที่น ารํองในการสร๎างพื้นที่ปลอดโรคพิษสุนัขบ๎า
                        4. ข้อเสนอแนะ

                           4.1 ระดับพื้นที่
                               4.1.1  ให๎จังหวัดมอบหมายส านักงานสํงเสริมการปกครองท๎องถิ่นจังหวัดและอ าเภอประสาน
                  องค์กรปกครองสํวนท๎องถิ่นในพื้นที่เพื่อส ารวจข๎อมูลจ านวนการขึ้นทะเบียนประชากรสุนัขและแมวที่อาจตกหลํน

                  ให๎ครบถ๎วนทุกชุมชน โดยบูรณาการข๎อมูลจากหนํวยงานที่เกี่ยวข๎องทั้งภาครัฐ ภาคเอกชน ภาคประชาชน และ
                  องค์กรเอกชนให๎มีข๎อมูลครบถ๎วน ถูกต๎อง และครอบคลุมทุกพื้นที่ หากพบปัญหาขอให๎เรํงรัดการท าความเข๎าใจ
                  เจ๎าหน๎าที่ผู๎รับผิดชอบ รวมทั้งให๎มีการนิเทศงานให๎เจ๎าหน๎าที่สามารถลงระบบได๎ครบตามเปูาหมายที่ก าหนด
   84   85   86   87   88   89   90   91   92   93   94