Page 90 - anualreport-64
P. 90

90

                               4.1.2.กรณีมีข๎อจ ากัดในการใช๎งานข๎อมูลในระบบ Rabies One Data ส านักงานสํงเสริมการ

                  ปกครองท๎องถิ่นจังหวัดอาจใช๎ชํองทางการรายงานข๎อมูลอื่นเพิ่มเติม เพื่อให๎สามารถติดตามใช๎ข๎อมูลการบริหาร
                  จัดการโครงการได๎เป็นปัจจุบันและรวดเร็ว
                               4.1.3.องค์กรปกครองสํวนท๎องถิ่นต๎องสร๎างระบบฐานข๎อมูลสัตว์เลี้ยง/สัตว์จรจัดที่นําเชื่อถือ
                  โดยวางระบบการจัดเก็บข๎อมูลและการรับรองข๎อมูลทะเบียนสัตว์เลี้ยง เชํน การท าข๎อมูลทะเบียนสัตว์เลี้ยง

                  ประกาศให๎ชุมชนทราบเพื่อการน าสุนัข/แมว การเข๎ารับการฉีดวัคซีน การผําตัดท าหมัน หรือการปรับปรุง
                  ตัวเลขประชากรสุนัข/แมว ให๎ถูกต๎องและเป็นปัจจุบัน
                               4.1.4.องค์กรปกครองสํวนท๎องถิ่นที่ขาดผู๎มีความรู๎ความสามารถเฉพาะทางควรท าหนังสือ

                  ประสานเพื่อขอตัวผู๎มีความรู๎ความสามารถจากหนํวยงานภายในจังหวัดให๎การชํวยเหลือขับเคลื่อนการ
                  ด าเนินการดังกลําวให๎แล๎วเสร็จโดยด าเนินการในรูปแบบคณะกรรมการและมีกรอบระยะเวลาการท างาน
                  ที่ชัดเจน
                               4.1.5.ต าแหนํงนายสัตวแพทย์ ควรจัดสวัสดิการให๎มีแรงจูงใจในการปฏิบัติงานให๎องค์กร
                  ปกครองสํวนท๎องถิ่น เชํน คําตอบแทนที่เหมาะสมเพราะเป็นวิชาชีพเฉพาะด๎าน

                               4.1.6.องค์กรปกครองสํวนท๎องถิ่นควรสร๎างความเข๎าใจกฎหมาย ระเบียบข๎อบัญญัติ/เทศบัญญัติ
                  วําด๎วยการควบคุมการเลี้ยง หรือปลํอยสัตว์ ที่ได๎ประกาศการบังคับใช๎ ให๎กับประชาชนในพื้นที่โดยผําน
                  กระบวนการทางสภาท๎องถิ่น

                               4.1.7.ให๎จังหวัดมอบหมายส านักงานสํงเสริมการปกครองท๎องถิ่นจังหวัด อ าเภอ และ
                  หนํวยงานที่เกี่ยวข๎อง โดยแตํงตั้งคณะท างานระดับจังหวัดและอ าเภอในการตรวจติดตามและนิเทศการ
                  ออกเทศบัญญัติ/ข๎อบัญญัติท๎องถิ่นเพื่อควบคุมการเลี้ยงและปลํอยสัตว์ขอองค์กรปกครองสํวนท๎องถิ่นให๎
                  สามารถบังคับได๎อยํางแท๎จริงและสามารถควบคุมการเลี้ยงหรือปลํอยสุนัขและแมวให๎เหมาะสมกับสภาพของแตํละ

                  ชุมชนและสามารถปูองกันไมํให๎เกิดปัญหาเหตุเดือดร๎อนร าคาญจากสุนัขและแมว รวมทั้งมีความเหมาะสมกับ
                  ความเป็นอยูํที่เหมาะสมในการด ารงชีวิตของประชาชน การปูองกันอันตรายจากพิษสุนัขบ๎าหรือโรคระบาด
                  ที่เกี่ยวข๎อง โดยขอความรํวมมือจากชุมชนและสังคม และประชาชนในแตํละชุมชน เพื่อให๎การขับเคลื่อน
                  โครงการเป็นไปอยํางมีประสิทธิภาพ

                               4.1.8.จังหวัดที่ยังไมํได๎ด าเนินการจัดตั้งศูนย์สงเคราะห์สัตว์ ควรเตรียมการวางแผนงาน
                  เพื่อประสานองค์กรปกครองสํวนท๎องถิ่นที่มีความพร๎อม เพื่อเตรียมการวางกระบวนการและขั้นตอนการจัดตั้ง
                  ศูนย์สงเคราะห์สัตว์จรจัด โดยอาจจัดตั้งคณะท างานประกอบด๎วย ส านักงานธนารักษ์พื้นที่จังหวัด ส านักงาน
                  สํงเสริมการปกครองท๎องถิ่นจังหวัด ส านักงานเกษตรจังหวัด ส านักงานปศุสัตว์จังหวัด องค์การบริหาร

                  สํวนจังหวัด มูลนิธิ เครือขํายภาคเอกชน และหนํวยงานอื่นที่เกี่ยวข๎อง ประชุมรํวมกันเพื่อหาแนวทางการ
                  ด าเนินการดังกลําว ควบคูํกับแนวทางการด าเนินการในด๎านอื่น ๆ โดยเน๎นย้ าให๎ปศุสัตว์จังหวัด/ปศุสัตว์อ าเภอ
                  ประสานองค์กรปกครองสํวนท๎องถิ่นในพื้นที่ให๎ความส าคัญในการจัดการและควบคุมกลุํมสัตว์จรจัดในพื้นที่

                  องค์กรปกครองสํวนท๎องถิ่น ให๎สามารถฉีดวัคซีนและผําตัดท าหมันควบคุมการแพรํพันธุ์ โดยมุํงเน๎นการควบคุม
                  การแพรํพันธุ์สัตว์จรจัดในพื้นที่ระหวํางที่ไมํสามารถจัดตั้งศูนย์พักพิงหรือสถานสงเคราะห์สัตว์ได๎
                               4.1.9.จังหวัดที่ได๎ด าเนินการจัดตั้งศูนย์สงเคราะห์สัตว์จรจัดแล๎ว ควรด าเนินการบริหารจัดการ
                  ให๎เป็นไปตามมาตรฐานและแนวทางที่ก าหนด รวมทั้งขอให๎อาศัยความรํวมมือจากภาคเอกชนและภาคประชาชน
                  ในการบริหารจัดการตํอไปในอนาคต

                               4.1.10.ส าหรับการผลักดันการจัดตั้งศูนย์สงเคราะห์สัตว์ระดับจังหวัด ให๎องค์การบริหาร
                  สํวนจังหวัดมีสํวนรํวมสนับสนุนการจัดตั้งและดูแลการบริหารจัดการ
                               4.1.11.จังหวัดควรวางแผนในการขับเคลื่อนการสร๎างพื้นที่ปลอดโรคพิษสุนัขบ๎าในท๎องถิ่น

                  โดยบูรณาการการท างานจากทุกภาคสํวนในกิจกรรมรณรงค์ปูองกันโรคพิษสุนัขบ๎า กิจกรรมการฉีดวัคซีน
                  ปูองกันโรคพิษสุนัขบ๎า การควบคุมประชากรสัตว์โดยวิธีผําตัดท าหมัน และการให๎ความรู๎เกี่ยวกับโรคพิษสุนัขบ๎า
   85   86   87   88   89   90   91   92   93   94   95